Home Forums Race to Win – Sailing Podcast รู้จักโรค “คอบวม”

  • Creator
    Topic
  • #701676

    <p class=”MsoNormal”></p>
    <p class=”MsoNormal”></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>โรคเฮโมรายิกเซพติกซีเมีย หรือโรคคอบวม กำลังแพร่ระบาดในภาคอีสาน สาเหตุจากวัวควาย ยังไม่พบการแพร่ระบาดในคน เล่นเกมได้เงิน แต่แนะให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ที่ป่วย </span></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>โรคคอบวม เป็นอย่างไร</span>?</p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวถึงกรณีที่กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานการระบาดของโรคเฮโมรายิกเซพติกซีเมีย หรือโรคคอบวม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยนั้น โรคนี้มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย </span>Pasteurella multocida <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ซึ่งก่อโรคในโคและกระบือ จากรายงานในครั้งนี้เป็นการระบาดในฝูงกระบือของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น ซึ่งกรมปศุสัตว์ได้ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์ พร้อมทั้งประกาศให้พื้นที่เกิดโรคดังกล่าวเป็นเขตควบคุมโรคระบาดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว</span></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>โรคคอบวม ยังไม่พบการแพร่ระบาดในคน แต่เชื้อชนิดใกล้เคียงสามารถก่ออาการในคนได้</span></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>โรคเฮโมรายิกเซพติกซีเมีย ที่พบการระบาดในสัตว์เกิดจากเชื้อ </span>Pasteurella multocida <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ซีโรไทป์ (</span>serotype) <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>หรือชนิด </span>B:<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>2 หรือ </span>E:<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>2 ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีรายงานว่าเชื้อทั้งสองซีโรไทป์นี้เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยในมนุษย์ อีกทั้งการเจ็บป่วยในมนุษย์ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อ </span>Pasteurella multocida <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ไม่มีความสัมพันธ์กับการระบาดของโรคเฮโมรายิกเซพติกซีเมียในสัตว์แต่อย่างใด </span></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ถึงแม้ปัจจุบันยังไม่มีการติดต่อของโรคเฮโมรายิกเซพติกซีเมียระหว่างสัตว์สู่คน แต่เชื้อ </span>Pasteurella multocida <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ชนิดอื่นพบว่า เป็นเชื้อฉวยโอกาสและสามารถก่อให้เกิดความเจ็บป่วยในมนุษย์ได้ ก่อให้เกิดการอักเสบในบริเวณที่ได้รับเชื้อดังกล่าว โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องจะก่อให้เกิดโรคที่รุนแรงได้ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ป่วย เพื่อลดความเสี่ยงติดเชื้อโรค</span></p>
    <p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>อย่างไรก็ตาม กรมควบคุมโรคมีความห่วงใยประชาชน จึงขอให้ประชาชนผู้มีอาชีพเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ และบุคคลที่มีความใกล้ชิดกับสัตว์ไม่ว่าจะเป็นโค กระบือ หรือสัตว์ชนิดอื่นๆ ขอให้หมั่นสังเกตอาการของสัตว์และความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตนเอง รักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเองและรักษาความสะอาดอยู่เสมอเมื่อจำเป็นต้องสัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์มีชีวิตหรือผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และหลีกเลี่ยงการสัมผัสสัตว์ป่วย เพื่อเป็นการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ</span></p>

You must be logged in to reply to this topic. or