-
Topic
-
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>เชื่อว่าหลาย ๆ คนจะต้องโตมากับคำสอนของผู้หลักผู้ใหญ่มาตั้งแต่เด็ก หรือแม้แต่อ่านเจอในหนังสือเรียนว่า “กินข้าวไม่ตรงเวลา ระวังเป็นโรคกระเพาะ” หรือ “อย่าอดข้าว เดี๋ยวเป็นโรคกระเพาะ” แต่ที่จริงแล้ว “โรคกระเพาะอาหาร” ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการกินอาหารไม่ตรงเวลา ซึ่งนี่อาจจะเป็นความรู้ใหม่สำหรับใครหลาย ๆ คนเลยก็ว่าได้ โรคกระเพาะอาหาร (</span>Gastritis) <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>คือ เป็นโรคที่มีอาการอักเสบหรือระคายเคืองบริเวณเยื่อบุในกระเพาะอาหาร ซึ่งอาการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งแบบระยะเวลาสั้น ๆ รักษาหายได้เพียงกินยาตามแพทย์สั่ง แต่ถ้าเกิดอักเสบแบบเรื้อรัง ก็จะทำให้กระเพาะอาหารเป็นแผล จนเพิ่มโอกาสเสี่ยงที่จะกลายเป็นโรคร้ายแรง อย่างเช่น แผลในกระเพาะอาหารเรื้อรัง มะเร็งกระเพาะอาหาร หรือมะเร็งต่อมน้ำเหลืองบางชนิด</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>อาการของโรคกระเพาะอาหาร</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>โดยทั่วไปคือ มีอาการปวดท้องส่วนบน ร่วมกับอาหารไม่ย่อย ท้องอืด จุกเสียด แน่นท้อง เรอบ่อย คลื่นไส้อาเจียนหลังจากกินอาหาร ความจริงแล้วอาการเหล่านี้ไม่ได้ร้ายแรง แต่หากเกิดภาวะแทรกซ้อนจากแผลที่เกิดขึ้นในกระเพาะอาหาร ทำให้กระเพาะบาง กระเพาะทะลุ มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร ก็อาจนำไปสู่ภาวะเสียเลือดจนเสียชีวิตได้</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ความเชื่อแต่เดิมของเรา เข้าใจว่าโรคกระเพาะอาหารเกิดขึ้นจากการที่กินอาหารไม่ตรงเวลาหรืออดอาหาร ซึ่งเมื่อถึงเวลาที่เราควรต้องกินอาหาร แต่ในกระเพาะไม่มีอาหาร ทำให้น้ำย่อยที่มีสภาวะเป็นกรดนั้นไปย่อยเอาผนังกระเพาะอาหารแทน จนเกิดการอักเสบ เป็นแผล และกลายเป็นโรคกระเพาะอาหารในที่สุด แต่ในทางการแพทย์อธิบายว่า สภาพในกระเพาะอาหารจะมีความเป็นกรดสูง ซึ่งร่างกายจะสร้างเยื่อเมือกเคลือบผนังกระเพาะเพื่อทำหน้าที่ป้องกันเยื่อบุกระเพาะอยู่แล้ว แต่สาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เป็นโรคกระเพาะอาหารนั้นมาจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร (</span>Helicobacter pylori) <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า เอช ไพโลไร (</span>H. pylori)</p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>เมื่อกระเพาะอาหารติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไรขึ้นมา ทำให้การหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร และเยื่อเมือกที่เคลือบกระเพาะอยู่เกิดความผิดปกติ กระเพาะต้องย่อยอาหารนานขึ้น ผิวกระเพาะอาหารจึงเกิดการอักเสบตามมาด้วย เมื่อเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร เข้าไปอยู่ในกระเพาะอาหาร เชื้อจะแปรสภาพตัวเองให้มีสภาวะเป็นเบส (ด่าง) ทำให้เชื้อสามารถทนอยู่ในกระเพาะที่มีสภาวะเป็นกรดได้ จากนั้นเชื้อจะไปรวมตัวอยู่บริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดอาการอักเสบได้ จนทำให้กระเพาะอาหารหลั่งกรดออกมามากขึ้น จนกลายเป็นโรคกระเพาะอาหาร</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>ซึ่งเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไรนี้ สามารถพบปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำดื่ม อย่างไรก็ตามไม่ได้พบเจาะจงในอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งเป็นพิเศษ โดยเชื้อชนิดนี้เพิ่งได้รับการยืนยันว่ามีความสัมพันธ์กับโรคกระเพาะอาหารเมื่อปี </span>2005<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”> โดยแพทย์ชาวออสเตรเลีย </span>2<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”> คน คือ นายแพทย์แบรร์รี่ เจ. มาร์แชล (</span>Barry J. Marshall) <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>และนายแพทย์เจ. โรบิน วาร์เรน (</span>J. Robin Warren) <span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>การค้นพบนี้ทำให้แพทย์ทั้ง </span>2<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”> ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปีเดียวกันนั่นเอง ดังนั้น ถ้าพูดถึงคนที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร ประมาณ </span>70-90<span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”> เปอร์เซ็นต์ ล้วนติดเชื้อมาจากแบคทีเรียชนิดนี้</span></p>
<p class=”MsoNormal”><span lang=”TH” style=”font-size: 14.0pt; mso-ansi-font-size: 11.0pt; line-height: 107%; font-family: ‘Cordia New’,sans-serif; mso-ascii-font-family: Calibri; mso-ascii-theme-font: minor-latin; mso-hansi-font-family: Calibri; mso-hansi-theme-font: minor-latin;”>นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นที่ถูกระบุว่าทำให้เกิดโรคกระเพาะอาหารได้ด้วยเช่นกัน คือ การติดเชื้อราบางชนิด พฤติกรรมสุขภาพ ทั้งการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน รวมถึงการกินยาที่ฤทธิ์กัดกระเพาะ (ยาที่แพทย์สั่งให้กินหลังอาหารทันที) ซึ่งมักเป็นกลุ่มยาแก้อักเสบหรือยาแก้ปวด หรือยาสเตียรอยด์ ที่มีผลทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้บางลงได้ ซึ่งมีผลต่อความสามารถในการป้องกันกรดที่จะหลั่งออกมาย่อยอาหาร ส่วนความเชื่อที่ว่าการกินอาหารไม่ตรงเวลาหรือการอดอาหารทำให้เกิดโรคกระเพาะนั้น น่าจะมาจากอาการกำเริบ หาก ไม่ว่าจะเป็นการกินอาหารรสจัด กินยาที่กัดกระเพาะ ดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ รวมถึงกินอาหารไม่ตรงเวลา ในขณะที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร ทำให้น้ำย่อยซึ่งมีสภาพเป็นกรดหลั่งไปโดนบริเวณที่เป็นแผล จึงทำให้มีอาการปวดแสบ จนเข้าใจผิดไปว่าโรคเกิดจากการที่น้ำย่อยในกระเพาะกัดกระเพาะ เล่นเกมได้เงิน</span></p>
You must be logged in to reply to this topic. Create an account or Login